5.1 ข สมบัติของเลขยกกำลัง ม.2
4. จงหาค่า a ที่ทำให้ประโยคต่อไปนี้เป็นจริง
1) \(\mathsf{2^{-15} \times a}\) = \(\mathsf{\frac{1}{2^{10}}}\)
 
วิธีทำ
 
\(\mathsf{2^{-15} \times a}\) 
 
=  \(\mathsf{\frac{1}{2^{10}}}\)
 
\(\mathsf{2^{-15} \times a}\) 
 
=  \(\mathsf{2^{-10}}\)
 
a =  \(\mathsf{\frac{2^{-10}}{2^{-15}}}\)
 
a =  \(\mathsf{2^{-10 \, – \, (-15)}}\)
 
a =  \(\mathsf{2^{-10 \, + \, 15}}\)
 
a =  \(\mathsf{2^5}\)
ตอบ  \(\mathsf{2^5}\)

 
2) \(\mathsf{0.25 \times 10^{-4}}\) = a \(\mathsf{\times 10^{-2}}\)
 
วิธีทำ
 
\(\mathsf{0.25 \times 10^{-4}}\)  
 
=  a \(\mathsf{\times 10^{-2}}\)
 
\(\mathsf{\frac{0.25 \times 10^{-4}}{10^{-2}}}\)  =  a
 
\(\mathsf{0.25 \times 10^{-4 \, – \, (-2)}}\)  =  a
 
\(\mathsf{0.25 \times 10^{-4 \, + \, 2}}\)  =  a
 
\(\mathsf{0.25 \times 10^{-2}}\)  =  a
 
\(\mathsf{0.25 \times 10^{-1} \times 10^{-2}}\)  =  a
 
\(\mathsf{0.25 \times 10^{-1 \, + \, (-2)}}\)  =  a
 
\(\mathsf{0.25 \times 10^{-3}}\)  =  a
 
ตอบ  \(\mathsf{0.25 \times 10^{-3}}\)

 
5. ลูกบาศก์ลูกหนึ่งมีปริมาตร 27 ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาว่า ลูกบาศก์ลูกนี้มีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เมตร
วิธีทำ   ปริมาตร 1 ลบ.ม.
= 1 ม. x 1 ม. x 1 ม.
 
= 100 ซม. x 100 ซม. x 100 ซม.
 
= \(\mathsf{10^2 \times 10^2 \times 10^2}\) ลบ.ซม.
 
= \(\mathsf{10^{2 \, + \, 2 \, + \, 2}}\) ลบ.ซม.
 
= \(\mathsf{10^6}\) ลบ.ซม.
 
ปริมาตร \(\mathsf{10^6}\) ลบ.ซม. เท่ากับ 1 ลบ.ม.
 
ปริมาตร 27 ลบ.ซม.
 
= \(\mathsf{\frac{27 \times 1}{10^6}}\)
 
= \(\mathsf{\frac{2.7 \times 10}{10^6}}\)
 
= \(\mathsf{2.7 \times 10^{1 \, – \, 6}}\)
 
= \(\mathsf{2.7 \times 10^{-5}}\) ลบ.ม.
ตอบ  \(\mathsf{2.7 \times 10^{-5}}\) ลูกบาศก์เมตร

 
6. หนอนไหมชนิดหนึ่ง เมื่อเข้าสู่ระยะดักแด้จะชักใยได้ยาวประมาณ \(\mathsf{1.1 \times 10^3}\) เมตร เพื่อสร้างรังไหม จ่อกระด้งสามารถใส่หนอนไหมได้ 700 ตัว ถ้านำไหมที่ผลิตได้จากหนอนไหมในจ่อกระด้งมาวางต่อกันเป็นสายยาว จะยาวประมาณกี่กิโลเมตร
วิธีทำ
หนอนไหมชักใยได้ยาว \(\mathsf{1.1 \times 10^3}\) ม.
หนอนไหม 700 ตัว จะชักใยได้ยาว
= \(\mathsf{700 \times 1.1 \times 10^3}\) ม.
= \(\mathsf{770 \times 10^3}\) ม.
 
1,000 ม. เท่ากับ 1 กม.
\(\mathsf{770 \times 10^3}\) ม.
= \(\mathsf{\frac{770 \times 10^3 \times 1}{1,000}}\) กม.
 
= \(\mathsf{\frac{770 \times 10^3}{10^3}}\) กม.
 
= \(\mathsf{770 \times 10^{3 \, – \, 3}}\) กม.
 
= \(\mathsf{770 \times 10^0}\) กม.
 
= \(\mathsf{770 \times 1}\) กม.
 
= 770 กม.
ดังนั้น หนอนไหม 700 ตัว จะชักใยได้ยาว 770 กม.
ตอบ  770 กิโลเมตร

 
7. แผ่นไข่ไหมหนึ่งแผ่นจะมีไข่ไหมประมาณ 20,000 ฟอง เมื่อหนอนไหมฟักออกมา จะมีน้ำหนักแรกเกิดประมาณ 0.45 มิลลิกรัม และเมื่อหนอนไหมโตเต็มที่จะมีน้ำหนักประมาณ \(\mathsf{10^4}\) เท่าของน้ำหนักไหมแรกเกิด จงหาว่า น้ำหนักของหนอนไหมโตเต็มที่ทุกตัวที่ฟักจากแผ่นไข่ไหมจะหนักรวมกันกี่กิโลกรัม ถ้าไข่ไหมทั้งหมดฟักออกมาเป็นหนอนไหมและมีชีวิตอยู่จนโตเต็มที่
วิธีทำ
หนอนไหมมีน้ำหนักแรกเกิด 0.45 มิลลิกรัม
เมื่อโตเต็มที่จะมีน้ำหนัก \(\mathsf{0.45 \times 10^4}\) มิลลิกรัม
หนอนไหม 20,000 ตัวจะมีน้ำหนัก
= \(\mathsf{20,000 \times 0.45 \times 10^4}\) มิลลิกรัม
= \(\mathsf{9,000 \times 10^4}\) มิลลิกรัม
 
น้ำหนัก 1 มิลลิกรัม
 
= \(\mathsf{10^{-3}}\) กรัม
 
= \(\mathsf{10^{-3} \times 10^{-3}}\) กิโลกรัม
 
= \(\mathsf{10^{-6}}\) กิโลกรัม
 
น้ำหนัก \(\mathsf{9,000 \times 10^4}\) มิลลิกรัม
 
= \(\mathsf{9,000 \times 10^4 \times 10^{-6}}\) กิโลกรัม
 
= \(\mathsf{9,000 \times 10^{4 \, + \, (-6)}}\) กิโลกรัม
 
= \(\mathsf{9,000 \times 10^{-2}}\) กิโลกรัม
 
= \(\mathsf{9,000 \times \frac{1}{10^2}}\) กิโลกรัม
 
= \(\mathsf{9,000 \times \frac{1}{100}}\) กิโลกรัม
 
= 900 กิโลกรัม
ดังนั้น หนอนไหม 20,000 ตัวจะมีน้ำหนัก 90 กิโลกรัม
ตอบ  90 กิโลกรัม