1. จงแก้สมการต่อไปนี้
 
1) 5x + 6 = 31
วิธีทำ
5x + 6
 = 31
5x + 6 – 6
5x
\(\frac{5x}{5}\)
x
 = 31 – 6
 = 25
 = \(\frac{25}{5}\)
 = 5
ดังนั้น x = 5
ตรวจสอบ แทน x ด้วย 5 ใน 5x + 6 = 31
จะได้
5(5) + 6
 = 31
25 + 6
 = 31
31
 = 31    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 5 เป็นคำตอบของสมการ 5x + 6 = 31
ตอบ 5
 
2) 3y + 4 = – 17
วิธีทำ
3y + 4
 = – 17
3y + 4 – 4
3y
3y
 = – 17 – 4
 = (- 17) + (- 4)
 = – 21
\(\frac{3y}{3}\) = \(\frac{-21}{3}\)
y
 = – 7
ดังนั้น y = – 7
ตรวจสอบ แทน y ด้วย -7 ใน 3y + 4 = – 17
จะได้
3(- 7) + 4
 = – 17
(- 21) + 4
 = – 17
– 17
 = – 17    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น – 7 เป็นคำตอบของสมการ 3y + 4 = – 17
ตอบ – 7
 
3) 3b – 6 = 21
วิธีทำ
3b – 6
 = 21
3b – 6 + 6
3b
 = 21 + 6
 = 27
\(\frac{3b}{3}\)
 = \(\frac{27}{3}\)
b
 = 9
ดังนั้น b = 9
ตรวจสอบ แทน b ด้วย 9 ใน 3b – 6 = 21
จะได้
3(9) – 6
 = 21
27 – 6
 = 21
21
 = 21    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 9 เป็นคำตอบของสมการ 3b – 6 = 21
ตอบ 9
 
4) – 112 – 2y = – 24
วิธีทำ
– 112 – 2y
 = – 24
– 112 – 2y + 112
(- 112) + 112 – 2y
– 2y
 = (- 24) + 112
 = 88
 = 88
\(\frac{-2y}{-2}\) = \(\frac{88}{-2}\)
y
 = – 44
ดังนั้น y = – 44
ตรวจสอบ แทน y ด้วย – 44 ใน – 112 – 2y = – 24
จะได้
– 112 – 2(- 44)
 = – 24
– 112 – (- 88)
(- 112) + 88
 = – 24
 = – 24
– 24
 = – 24    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น – 44 เป็นคำตอบของสมการ – 112 – 2y = – 24
ตอบ – 44
 
5) 26.5 = 1 + 0.25x
วิธีทำ
26.5
 = 1 + 0.25x
26.5 – 1
25.5
 = 1 + 0.25x – 1
 = 0.25x
\(\frac{25.5}{0.25}\) = \(\frac{0.25x}{0.25}\)
102
 = x
ดังนั้น x = 102
ตรวจสอบ แทน x ด้วย 102 ใน 26.5 = 1 + 0.25x
จะได้
26.5
 = 1 + 0.25(102)
26.5
 = 1 + 25.5
26.5
 = 26.5    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 102 เป็นคำตอบของสมการ 26.5 = 1 + 0.25x
ตอบ 102
 
6) – 0.3y – 0.6 = 0.9
วิธีทำ
– 0.3y – 0.6
 = 0.9
– 0.3y – 0.6 + 0.6
– 0.3y
 = 0.9 + 0.6
 = 1.5
\(\frac{-0.3y}{-0.3}\) = \(\frac{1.5}{-0.3}\)
y
 = – 5
ดังนั้น x = 102
ตรวจสอบ แทน y ด้วย – 5 ใน -0.3y – 0.6 = 0.9
จะได้
(- 0.3)(- 5) – 0.6
 = 0.9
1.5 – 0.6
 = 0.9
0.9
 = 0.9    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น – 5 เป็นคำตอบของสมการ – 0.3y – 0.6 = 0.9
ตอบ – 5
 
7) \(\frac{a}{3}\) + 4 = – 10
วิธีทำ
\(\frac{a}{3}\) + 4
 = – 10
\(\frac{a}{3}\) + 4 – 4
\(\frac{a}{3}\)
\(\frac{a}{3}\)
 = (- 10) – 4
 = (- 10) + (- 4)
 = – 14
 
\(\frac{a}{3}\) X 3 = (- 14) X 3
a
 = – 42
ดังนั้น a = – 42
ตรวจสอบ แทน a ด้วย – 42 ใน \(\frac{a}{3}\) + 4 = – 10
จะได้
\(\frac{-42}{3}\) + 4
 = – 10
(- 14) + 4
 = – 10
– 10
 = – 10    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น – 42 เป็นคำตอบของสมการ \(\frac{a}{3}\) + 4 = – 10
ตอบ – 42
 
8) 12(9 – x) = 84
วิธีทำ
12(9 – x)
\(\frac{12(9 – x)}{12}\)
 = 84
 = \(\frac{84}{12}\)
9 – x
9 – x – 9
– x
– x
(- x)(- 1)
 = 7
 = 7 – 9
 = 7 + (- 9)
 = – 2
 = (- 2)(- 1)
x
 = 2
ดังนั้น x = 2
ตรวจสอบ แทน x ด้วย 2 ใน 12(9 – x) = 84
จะได้
12(9 – 2)
 = 84
12(7)
 = 84
84
 = 84    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 2 เป็นคำตอบของสมการ 12(9 – x) = 84
ตอบ 2
 
9) – 20 = \(\frac{2}{3}\)y – 8
วิธีทำ
– 20
 = \(\frac{2}{3}\)y – 8
(- 20) + 8
– 12
 = \(\frac{2}{3}\)y – 8 + 8
 = \(\frac{2}{3}\)y
 
(- 12)(\(\frac{3}{2}\)) = (\(\frac{2}{3}\)y)(\(\frac{3}{2}\))
– 18
 = y
ดังนั้น y = – 18
ตรวจสอบ แทน y ด้วย – 18 ใน – 20 = \(\frac{2}{3}\)y – 8
จะได้
– 20
 = (\(\frac{2}{3}\))(- 18) – 8
– 20
– 20
 = – 12 – 8
 = (- 12) + (- 8)
– 20
 = – 20    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น – 18 เป็นคำตอบของสมการ – 20 = \(\frac{2}{3}\)y – 8
ตอบ – 18
 
10) \(\frac{x}{6}\) – 1 = 13
วิธีทำ
\(\frac{x}{6}\) – 1
 = 13
\(\frac{x}{6}\) – 1 + 1
\(\frac{x}{6}\)
 = 13 + 1
 = 14
 
(\(\frac{x}{6}\))(6) = 14 X 6
x
 = 84
ดังนั้น x = 84
ตรวจสอบ แทน x ด้วย 84 ใน \(\frac{x}{6}\) – 1 = 13
จะได้
\(\frac{84}{6}\) – 1
 = 13
14 – 1
 = 13
13
 = 13    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น 84 เป็นคำตอบของสมการ \(\frac{x}{6}\) – 1 = 13
ตอบ 84
 
11) 0.6x + 0.5 = 0.14
วิธีทำ
0.6x + 0.5
 = 0.14
0.6x + 0.5 – 0.5
0.6x
0.6x
 = 0.14 – 0.5
 = 0.14 + (- 0.5)
 = – 0.36
\(\frac{0.6x}{0.6}\) = \(\frac{-0.36}{0.6}\)
x
 = – 0.6
ดังนั้น x = – 0.6
ตรวจสอบ แทน x ด้วย – 0.6 ใน 0.6x + 0.5 = 0.14
จะได้
0.6(- 0.6) + 0.5
 = 0.14
(- 0.36) + 0.5
 = 0.14
0.14
 = 0.14    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น – 0.6 เป็นคำตอบของสมการ 0.6x + 0.5 = 0.14
ตอบ – 0.6
 
12) 0.6(x + 0.5) = 0.15
วิธีทำ
0.6(x + 0.5)
 = 0.15
\(\frac{0.6(x + 0.5)}{0.6}\) = \(\frac{0.15}{0.6}\)
x + 0.5
x + 0.5 – 0.5
x
 = 0.25
 = 0.25 – 0.5
 = 0.25 + (- 0.5)
x
 = – 0.25
ดังนั้น x = – 0.25
ตรวจสอบ แทน x ด้วย – 0.25 ใน 0.6(x + 0.5) = 0.15
จะได้
0.6(- 0.25 + 0.5)
 = 0.15
0.6(0.25)
 = 0.15
0.15
 = 0.15    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น – 0.25 เป็นคำตอบของสมการ 0.6(x + 0.5) = 0.15
ตอบ – 0.25
 
13) \(\frac{1}{3}\)(y – 4) = 7
วิธีทำ
\(\frac{1}{3}\)(y – 4)
 = 7
\(\frac{1}{3}\)(y – 4) X 3 = 7 X 3
y – 4
y – 4 + 4
 = 21
 = 21 + 4
y
 = 25
ดังนั้น y = 25
ตรวจสอบ แทน y ด้วย 25 ใน \(\frac{1}{3}\)(y – 4) = 7
จะได้
\(\frac{1}{3}\)(25 – 4)
\(\frac{1}{3}\)(21)
 = 7
 = 7
7
 = 7    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
 
ดังนั้น 25 เป็นคำตอบของสมการ \(\frac{1}{3}\)(y – 4) = 7
ตอบ 25
 
14) \(\frac{x + 1}{5}\) = 7
วิธีทำ
\(\frac{x + 1}{5}\)
 = 7
\(\frac{x + 1}{5}\) X 5 = 7 X 5
x + 1
x + 1 – 1
 = 35
 = 35 – 1
x
 = 34
ดังนั้น x = 34
ตรวจสอบ แทน x ด้วย 34 ใน \(\frac{x + 1}{5}\) = 7
จะได้
\(\frac{34 + 1}{5}\)
\(\frac{35}{5}\)
 = 7
 = 7
7
 = 7    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
 
ดังนั้น 34 เป็นคำตอบของสมการ \(\frac{x + 1}{5}\) = 7
ตอบ 34