2. จงหาคำตอบของสมการต่อไปนี้ โดยวิธีลองแทนค่าตัวแปร
 
1) a + 3 = 2
วิธีทำ
เมื่อแทน a ด้วย -1 ใน a + 3 = 2
จะได้
(-1) + 3
 = 2
2
 = 2    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น คำตอบของสมการ a + 3 = 2 คือ -1
ตอบ -1
 
2) 2b = 15
วิธีทำ
เมื่อแทน b ด้วย \(\frac{15}{2}\) ใน 2b = 15
จะได้
2 X \(\frac{15}{2}\)
 = 15
15
 = 15    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
 
ดังนั้น คำตอบของสมการ 2b = 15 คือ \(\frac{15}{2}\)
ตอบ \(\frac{15}{2}\)
 
3) s – \(\frac{1}{7}\) = 0
วิธีทำ
เมื่อแทน s ด้วย \(\frac{1}{7}\) ใน s – \(\frac{1}{7}\) = 0
จะได้
\(\frac{1}{7}\) – \(\frac{1}{7}\)
 = 0
0
 = 0   ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
 
ดังนั้น คำตอบของสมการ s – \(\frac{1}{7}\) = 0 คือ \(\frac{1}{7}\)
ตอบ \(\frac{1}{7}\)
 
4) -t = 0
วิธีทำ
เมื่อแทน t ด้วย 0 ใน -t = 0
จะได้
-(0)
 = 0
0
 = 0    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น คำตอบของสมการ -t = 0 คือ 0
ตอบ 0
 
5) 7c + 6 = -1
วิธีทำ
เมื่อแทน c ด้วย -1 ใน 7c + 6 = -1
จะได้
7(-1) + 6
 = -1
(-7) + 6
 = -1
-1
 = -1    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น คำตอบของสมการ 7c + 6 = -1 คือ -1
ตอบ -1
 
6) \(\frac{x}{5}\) = 10
วิธีทำ
เมื่อแทน x ด้วย 50 ใน \(\frac{x}{5}\) = 10
จะได้
\(\frac{50}{5}\)
 = 10
10
 = 10   ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
 
ดังนั้น คำตอบของสมการ \(\frac{x}{5}\) = 10 คือ 50
ตอบ 50
 
7) \(\frac{2y}{3}\) = -2
วิธีทำ
เมื่อแทน y ด้วย -3 ใน \(\frac{2y}{3}\) = -2
จะได้
\(\frac{2(-3)}{3}\)
 = -2
2(-1)
 = -2
-2
 = -2   ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
 
ดังนั้น คำตอบของสมการ \(\frac{2y}{3}\) = -2 คือ -3
ตอบ -3
 
8) \(z^3\) = -1,000
วิธีทำ
เมื่อแทน z ด้วย -10 ใน \(z^3\) = -1,000
จะได้
\((-10)^3\)
 = -1,000
(-10)(-10)(-10)
 = -1,000
-1,000
 = -1,000    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น คำตอบของสมการ \(z^3\) = -1,000 คือ -10
ตอบ -10
 
9) 5\(x^2\) = 20
วิธีทำ
เมื่อแทน x ด้วย 2 ใน 5\(x^2\) = 20
จะได้
5(\(2^2\))
 = 20
5 x 4
 = 20
20
 = 20    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
 
เมื่อแทน x ด้วย -2 ใน 5\(x^2\) = 20
จะได้
5 X \((-2)^2\)
 = 20
5 x 4
 = 20
20
 = 20    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
 
ดังนั้น คำตอบของสมการ 5\(x^2\) = 20 คือ 2 และ -2
ตอบ 2 และ -2
 
10) m + 3 = m
เนื่องจากไม่มีจำนวนใดแทน m ในสมการ m + 3 = m แล้วทำให้ได้สมการที่เป็นจริง
ดังนั้น ไม่มีจำนวนใดเป็นคำตอบของสมการ m + 3 = m
ตอบ ไม่มีคำตอบของสมการ m + 3 = m
 
11) \(r^2\) = \(\frac{1}{100}\)
วิธีทำ
เมื่อแทน r ด้วย \(\frac{1}{10}\) ใน \(r^2\) = \(\frac{1}{100}\)
จะได้
\((\frac{1}{10})^{2}\)
 = \(\frac{1}{100}\)
\(\frac{1}{100}\)
 = \(\frac{1}{100}\)    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
 
 
เมื่อแทน r ด้วย -\(\frac{1}{10}\) ใน \(r^2\) = \(\frac{1}{100}\)
จะได้
\((-\frac{1}{10})^{2}\)
 = \(\frac{1}{100}\)
\(\frac{1}{100}\)
 = \(\frac{1}{100}\)    ซึ่งเป็นสมการที่เป็นจริง
 
 
ดังนั้น คำตอบของสมการ \(r^2\) = \(\frac{1}{100}\) คือ \(\frac{1}{10}\) และ -\(\frac{1}{10}\)
ตอบ \(\frac{1}{10}\) และ -\(\frac{1}{10}\)
 
12) 3n – n = 2n
จากสมการ    3n – n = 2n
จะได้                       2n = 2n
และเมื่อแทน n ด้วยจำนวนใดๆ ในสมการ  2n = 2n จะได้สมการที่เป็นจริงเสมอ
ดังนั้น คำตอบของสมการ  3n – n = 2n คือ จำนวนทุกจำนวน
ตอบ จำนวนทุกจำนวน