1. จงเติมเครื่องหมาย >, = หรือ < ลงใน ⬜ ให้ถูกต้อง
1) 1\(\mathsf{\frac{3}{4}}\) ⬜ 1\(\mathsf{\frac{1}{2}}\)
วิธีคิด
เนื่องจาก 1 = 1 จึงเปรียบเทียบ \(\mathsf{\frac{3}{4}}\) กับ \(\mathsf{\frac{1}{2}}\)
 
โดยที่ \(\mathsf{\frac{1}{2} = \frac{1 \times 2}{2 \times 2} = \frac{2}{4}}\)
 
และ \(\mathsf{\frac{3}{4}}\) > \(\mathsf{\frac{2}{4}}\)
 
นั่นคือ \(\mathsf{\frac{3}{4}}\) > \(\mathsf{\frac{1}{2}}\)
 
ดังนั้น 1\(\mathsf{\frac{3}{4}}\) > 1\(\mathsf{\frac{1}{2}}\)
 
ตอบ  1\(\mathsf{\frac{3}{4}}\) > 1\(\mathsf{\frac{1}{2}}\)

 
2) \(\mathsf{\frac{25}{12}}\) ⬜ 2\(\mathsf{\frac{3}{12}}\)
วิธีคิด
เนื่องจาก 2\(\mathsf{\frac{3}{12} = \frac{27}{12}}\)
 
และ \(\mathsf{\frac{25}{12}}\) < \(\mathsf{\frac{27}{12}}\)
 
ดังนั้น \(\mathsf{\frac{25}{12}}\) < 2\(\mathsf{\frac{3}{12}}\)
 
ตอบ  \(\mathsf{\frac{25}{12}}\) < 2\(\mathsf{\frac{3}{12}}\)

 
3) -\(\mathsf{\frac{3}{4}}\) ⬜ \(\mathsf{\frac{15}{7}}\)
วิธีคิด
ทศนิยมที่เป็นจำนวนลบน้อยกว่าทศนิยมที่เป็นจำนวนบวก
 
ดังนั้น -\(\mathsf{\frac{3}{4}}\) < \(\mathsf{\frac{15}{7}}\)
 
ตอบ  -\(\mathsf{\frac{3}{4}}\) < \(\mathsf{\frac{15}{7}}\)

 
4) \(\mathsf{\frac{1}{7}}\) ⬜ -\(\mathsf{\frac{11}{9}}\)
วิธีคิด
ทศนิยมที่เป็นจำนวนบวกมากกว่าทศนิยมที่เป็นจำนวนลบ
 
ดังนั้น \(\mathsf{\frac{1}{7}}\) > -\(\mathsf{\frac{11}{9}}\)
 
ตอบ  \(\mathsf{\frac{1}{7}}\) > -\(\mathsf{\frac{11}{9}}\)

 
5) -\(\mathsf{\frac{7}{6}}\) ⬜ -\(\mathsf{\frac{21}{18}}\)
วิธีคิด
-\(\mathsf{\frac{7}{6}}\) = -\(\mathsf{\frac{7 \times 3}{6 \times 3}}\) = -\(\mathsf{\frac{21}{18}}\)
 
และ -\(\mathsf{\frac{21}{18}}\) = -\(\mathsf{\frac{21}{18}}\)
 
ดังนั้น -\(\mathsf{\frac{7}{6}}\) = -\(\mathsf{\frac{21}{18}}\)
 
ตอบ  -\(\mathsf{\frac{7}{6}}\) = -\(\mathsf{\frac{21}{18}}\)

 
6) -\(\mathsf{\frac{5}{3}}\) ⬜ -\(\mathsf{\frac{1}{2}}\)
วิธีคิด
-\(\mathsf{\frac{5}{3}}\) = -\(\mathsf{\frac{5 \times 2}{3 \times 2}}\) = -\(\mathsf{\frac{10}{6}}\)
 
-\(\mathsf{\frac{1}{2}}\) = -\(\mathsf{\frac{1 \times 3}{2 \times 3}}\) = -\(\mathsf{\frac{3}{6}}\)
 
เนื่องจาก -\(\mathsf{\frac{10}{6}}\) < -\(\mathsf{\frac{3}{6}}\)
 
ดังนั้น -\(\mathsf{\frac{5}{3}}\) < -\(\mathsf{\frac{1}{2}}\)
 
ตอบ  -\(\mathsf{\frac{5}{3}}\) < -\(\mathsf{\frac{1}{2}}\)

 
7) -\(\mathsf{\frac{4}{5}}\) ⬜ -\(\mathsf{\frac{12}{15}}\)
วิธีคิด
-\(\mathsf{\frac{4}{5}}\) = -\(\mathsf{\frac{4 \times 3}{5 \times 3}}\) = -\(\mathsf{\frac{12}{15}}\)
 
และ -\(\mathsf{\frac{12}{15}}\) = -\(\mathsf{\frac{12}{15}}\)
 
ดังนั้น -\(\mathsf{\frac{4}{5}}\) = -\(\mathsf{\frac{12}{15}}\)
 
ตอบ  -\(\mathsf{\frac{4}{5}}\) = -\(\mathsf{\frac{12}{15}}\)

 
8) -\(\mathsf{\frac{11}{15}}\) ⬜ -\(\mathsf{\frac{99}{135}}\)
วิธีคิด
-\(\mathsf{\frac{11}{15}}\) = -\(\mathsf{\frac{11 \times 9}{15 \times 9}}\) = -\(\mathsf{\frac{99}{135}}\)
 
และ -\(\mathsf{\frac{99}{135}}\) = -\(\mathsf{\frac{99}{135}}\)
 
ดังนั้น -\(\mathsf{\frac{11}{15}}\) = -\(\mathsf{\frac{99}{135}}\)
 
ตอบ  -\(\mathsf{\frac{11}{15}}\) = -\(\mathsf{\frac{99}{135}}\)

 
9) -\(\mathsf{\frac{5}{24}}\) ⬜ -\(\mathsf{\frac{6}{24}}\)
 
ตอบ  -\(\mathsf{\frac{5}{24}}\) > -\(\mathsf{\frac{6}{24}}\)

 
10) -4\(\mathsf{\frac{3}{5}}\) ⬜ -\(\mathsf{\frac{25}{15}}\)
วิธีคิด
-\(\mathsf{\frac{25}{15}}\) = -\(\mathsf{\frac{5}{3}}\) = -1\(\mathsf{\frac{2}{3}}\)
 
เนื่องจาก -4 < -1
 
นั่นคือ -4\(\mathsf{\frac{3}{5}}\) < -1\(\mathsf{\frac{2}{3}}\)
 
ดังนั้น -4\(\mathsf{\frac{3}{5}}\) < -\(\mathsf{\frac{25}{15}}\)
 
ตอบ  -4\(\mathsf{\frac{3}{5}}\) < -\(\mathsf{\frac{25}{15}}\)

 
11) -2\(\mathsf{\frac{11}{13}}\) ⬜ -\(\mathsf{\frac{37}{13}}\)
วิธีคิด
-\(\mathsf{\frac{37}{13}}\) = -2\(\mathsf{\frac{11}{13}}\)
 
และ -2\(\mathsf{\frac{11}{13}}\) = -2\(\mathsf{\frac{11}{13}}\)
 
ดังนั้น -2\(\mathsf{\frac{11}{13}}\) = -\(\mathsf{\frac{37}{13}}\)
 
ตอบ  -2\(\mathsf{\frac{11}{13}}\) = -\(\mathsf{\frac{37}{13}}\)

 
12) -1\(\mathsf{\frac{3}{4}}\) ⬜ -1\(\mathsf{\frac{1}{2}}\)
วิธีคิด
เนื่องจาก -1 = -1 จึงเปรียบเทียบ -\(\mathsf{\frac{3}{4}}\) กับ -\(\mathsf{\frac{1}{2}}\)
 
โดยที่ -\(\mathsf{\frac{1}{2} = -\frac{1 \times 2}{2 \times 2} = -\frac{2}{4}}\)
 
และ -\(\mathsf{\frac{3}{4}}\) < -\(\mathsf{\frac{2}{4}}\)
 
นั่นคือ -\(\mathsf{\frac{3}{4}}\) < -\(\mathsf{\frac{1}{2}}\)
 
ดังนั้น -1\(\mathsf{\frac{3}{4}}\) < -1\(\mathsf{\frac{1}{2}}\)
 
ตอบ  -1\(\mathsf{\frac{3}{4}}\) < -1\(\mathsf{\frac{1}{2}}\)

 
13) -2\(\mathsf{\frac{1}{3}}\) ⬜ -3\(\mathsf{\frac{2}{5}}\)
วิธีคิด
เนื่องจาก -2 > -3
 
ดังนั้น -2\(\mathsf{\frac{1}{3}}\) > -3\(\mathsf{\frac{2}{5}}\)
 
ตอบ  -2\(\mathsf{\frac{1}{3}}\) > -3\(\mathsf{\frac{2}{5}}\)

 
14) -\(\mathsf{\frac{2}{3}}\) ⬜ -1\(\mathsf{\frac{3}{5}}\)
 
ตอบ  -\(\mathsf{\frac{2}{3}}\) > -1\(\mathsf{\frac{3}{5}}\)
 

ดูเฉลยแบบฝึกหัดทศนิยมและเศษส่วนทั้งหมด >> คลิก